ปัญญาวรรค - หมวดปัญญา
ปญฺญา โลกสฺมิ ปชฺโชโต ปัญญาเป็นแสงสว่างในโลก
ปญฺญา นรานํ รตนํ ปัญญาเป็นรัตนะของนรชน
ปญฺญาว ธเนน เสยฺโย ปัญญาเทียวประเสริฐกว่าทรัพย์
ปญฺญาชีวีชีวิตมาหุ
เสฏฺฐํ
ปราชญ์กล่าวชีวิตของผู้เป็นอยู่ด้วยปัญญาว่าประเสริฐสุด
ปญฺญายตฺถํ วิปสฺสติ คนย่อมเห็นเนื้อความด้วยปัญญา
ปญฺญา
หิ เสฏฺฐา กุสลา วทนฺติ
นกฺขตฺตราชาริว ตารกานํ
สีลํ
สิรึ จาปิ สตญฺจ ธมฺโม
อนฺวายิกา ปญฺญวโด ภวนฺติ
คนฉลาดกล่าวว่าปัญญาประเสริฐ
เหมือนพระจันทร์ประเสริฐ
กว่าดาวทั้งหลาย
แม้ศีลสิริและธรรมของสัตบุรุษ ย่อมไปตามผู้มีปัญญา
ยสํ ลทฺธาน
ทุมฺเมโธ อนตฺถํ
จรติ อตฺตโน
อตฺตโน
จ ปเรสญฺจ หึสาย
ปฏิปชฺชติ
คนมีปัญญาทราม
ได้ยศแล้วย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน
ย่อมปฏิบัติเพื่อเบียดเบียน
ทั้งตนและผู้อื่น
มตฺตาสุขปริจฺจาคา
ปสฺเส เจ วิปุลํ สุข
จเช
มตฺตาสุขํ ธีโร
สมฺปสฺสํ วิปุลํ สุขํ
ถ้าพึงเห็นสุขอันไพบูลย์
เพราะยอมเสียสละสุขส่วนน้อย
ผู้มีปัญญาเล็งเห็นสุขอันไพบูลย์
ก็ควรสละสุขส่วนน้อยเสีย
ปญฺญวนฺตํ
ตถาวาทึ สีเลสุ
สุสมาหิตํ
เจโตสมถมนุยุตฺตํ
ตํ เว วิญฺญู ปสํสเร
ผู้รู้ย่อมสรรเสริญคนมีปัญญา
พูดจริง ตั้งมั่นในศีล
ประกอบความสงบใจนั้นแล
ปาปวรรค - หมวดบาป
อิธ โสจติ
เปจฺจ โสจติ ปาปการี
อุภยตฺถ โสจติ
โส โสจติ
โส วิหญฺญติ ทิสฺวา
กมฺมกิลิฏฺฐมตฺตโน
ผู้ทำบาป
ย่อมเศร้าโศกในโลกนี้ ละไปแล้วก็เศร้าโศก ชื่อว่าเศร้าโศกในโลกทั้งสอง
เขาเห็นกรรมอันเศร้าหมองของตน
จึงเศร้าโศกและเดือดร้อน
อุทพินทุนิปาเตน
อุทกุมฺโภปิ ปูรติ
อาปูรติ
พาโล ปาปสฺส โถกํ
โถกํปิ อาจินํ
แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยหยาดน้ำฉันใด
คนเขลาสั่งสมบาปแม้ทีละน้อย
ๆ ก็เต็มด้วยบาปฉันนั้น
ปาณิมฺหิ
เจ วโณ นาสฺส หเรยฺย
ปาณินา วิสํ
นาพฺพณํ
วิสมนฺเวติ นตฺถิ
ปาปํ อกุพฺพโต
ถ้าฝ่ามือไม่มีแผล
ก็พึงนำยาพิษไปด้วยฝ่ามือได้
ยาพิษซึมเข้าฝ่ามือไม่มีแผลไม่ได้ฉันใด
บาปย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ทำฉันนั้น
วาณิโชว
ภยํ มคฺคํ อปฺปสตฺโถ
มหทฺธโน
วิสํ
ชีวิตุกาโมว ปาปานิ
ปริวชฺชเย
ควรงดเว้นบาปเสีย
เหมือนพ่อค้ามีพวกน้อยมีทรัพย์มาก
เว้นหนทางที่มีภัย
และเหมือนผู้รักชีวิตเว้นยาพิษเสียฉะนั้น
ปุญญวรรค - หมวดบุญ
ปุญฺญํ โจเรหิ ทูหรํ บุญอันโจรนำไปไม่ได้
ปญฺญํ สุขํ ชีวิตสงฺขยมฺหิ บุญนำสุขมาให้ในเวลาสิ้นชีวิต
สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย ความสั่งสมบุญ นำสุขมาให้
ปุญฺญานิ
ปรโลกสฺมึ ปติฏฺฐา
โหนฺติ ปาณินํ
บุญเป็นที่พึ่งของสัตว์ในโลกหน้า
อิธ นนฺทติ
เปจฺจ นนฺทติ กตปุญโญฺ
อุภยตฺถ นนฺทติ
ปุญฺญํ
เม กตนุติ นนฺทติ
ภิยฺโย นนฺทุติ สุคตึ คโต
ผู้ทำบุญแล้วย่อมยินดีในโลกนี้
ตายแล้วย่อมยินดีชื่อว่ายินดีในโลกทั้งสอง
เขาย่อมยินดีว่าเราทำบุญไว้แล้ว
ไปสู่สุคติย่อมยินดียิ่งขึ้น
ปญฺญญฺ
ปริโส กยิรา กยิราถนํ
ปุนปฺปุนํ
ตมฺหิ
ฉนฺทํ กยิราถ สุโข
ปุญฺญสฺส อุจฺจโย
ถ้าบุรุษจะพึ่งทำบุญ
ควรทำบุญนั้นบ่อย ๆ
ควรทำความพอใจในบุญนั้น
การสั่งสมบุญนำความสุขมาให้
มาวมญฺเญถ
ปุญฺญสฺส น
มตฺตํ อาคมิสฺสติ
อุทพินฺทุนิปาเตน
อุทกุมฺโภปิ ปูรติ
อาปูรติ
ธีโร บุญฺญสฺส โถกํ
โถกํปิ อาจินํ
ไม่ควรดูหมิ่นต่อบุญว่ามีประมาณน้อยจักไม่มีมาถึง
แม้หม้อน้ำย่อมเต็มได้ด้วยหยาดน้ำที่ตกลงมาฉันใด
ผู้มีปัญญาสั่งสมบูญแม้ทีละน้อยๆ
ย่อมเต็มได้ด้วยบุญ ฉันนั้น
สหาโย
อตฺถชาตสฺส โหติ
มิตฺตํ ปุนปฺปุนํ
สยํ
กตานิ ปุญฺญานิ ตํ
มิตฺตํ สมฺปรายิกํ
สหายเป็นมิตรของคนผู้มีความต้องการเกิดขึ้นบ่อย
ๆ
บุญทั้งหลายที่ตนทำเองนั้น
จะเป็นมิตรในสัมปรายภพ