| ย้อนกลับ | หน้าต่อไป |

กลหมากรุกไทย

2. กลการไล่ด้วยเบี้ยหงายสามตัว
- เบี้ยหงายสามตัวนั้นต้องเป็นเบี้ยผูกคู่หนึ่งและเบี้ยเทียมหนึ่งตัว ถ้าเป็นเบี้ยผูกทั้งหมด  จะไม่จน
- ในการไล่ขั้นแรกต้องพยายามไล่ให้เข้ามุมกระดานมุมใดมุมหนึ่งที่ใกล้ที่สุดเสียก่อน
- เมื่อไล่ขุนเข้าใกล้มุมกระดานแล้ว  ให้พิจารณาเบี้ยคู่ผูกว่า  เบี้ยคู่ผูกนั้นถูกมุม  คือ เดินเข้าตามุมกระดานได้หรือไม่
- ให้สังเกตวิธีการไล่  เพราะการมีเบี้ยคู่ผูกถูกมุม  และไม่ถูกมุมนั้น  การไล่ให้จนมีวิธีต่างกัน

2.1 การไล่ด้วยเบี้ยหงายสามตัว เมื่อเบี้ยคู่ผูกถูกมุม    มีอยู่ 8 กลด้วยกันคือ
 



กลที่ 47     1 ทีหมากดำหนี     2 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 48     1 ทีหมากดำหนี     2 ทีหมากขาวไล่

 


กลที่ 49     3 ทีหมากดำหนี     4 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 50     4 ทีหมากดำหนี      5 ทีหมากขาวไล่



กลที่ 51     5 ทีหมากดำหนี     6 ทีหมากขาวไล่
 



กลที่ 52     6 ทีหมากดำหนี     7 ทีหมากขาวไล่
 




กลที่ 53     16 ทีหมากดำหนี     17 ทีหมากขาวไล่



กลที่ 54     8 ทีหมากดำหนี     9 ทีหมากขาวไล่

2.2 กลการไล่ด้วยเบี้ยหงายสามตัว เบี้ยคู่ผูกไม่ถูกมุม     มีอยู่ 3 กลด้วยกันคือ



กลที่ 55     4 ทีหมากดำหนี     5 ทีหมากขาวไล่
 



กลที่ 56     9 ทีหมากดำหนี     10 ทีหมากขาวไล่
 



กลที่ 57    6 ทีหมากดำหนี     7 ทีหมากขาวไล่



3. กลการไล่ด้วยโคนเดี่ยว
ขุนต้องอยู่หน้าโคน  กับต้องอยู่มุมใดมุมหนึ่งของกระดาน  และมีขอบเขตจำกัดเพราะถ้าออกจากมุมกระดานได้  ก็จะไล่ไม่จน  มีอยู่ 7 กลด้วยกันคือ

กลที่ 58     1 ทีหมากดำหนี     2 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 59     2 ทีหมากดำหนี     3 ทีหมากขาวไล่

 
กลที่ 60     2 ทีหมากดำหนี     3 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 61     3 ทีหมากดำหนี     4 ทีหมากขาวไล่

 
กลที่ 62     3 ทีหมากดำหนี 4 ทีหมากขาวไล่
กลที่ 63     3 ทีหมากดำหนี     4 ทีหมากขาวไล่

กลที่ 64  3 ทีหมากดำหนี  4 ทีหมากขาวไล่

| ย้อนกลับ | หน้าต่อไป | บน |