วิริยวรรค - หมวดความเพียร
กาลาคตญฺจ น หาเปติ อตฺถํ คนขยันย่อมไม่พร่าประโยชน์ชั่วตามกาล
วิริเยน ทุกฺขมจฺเจติ คนล่วงทุกข์ได้เพราะความเพียร
ปฏิรูปการี
ธุรวา
อุฏฺฐาตา
วินฺทเต ธนํ
คนมีธุระหมั่นทำการงานให้เหมาะเจาะ
ย่อมหาทรัพย์ได้
น นิพฺพินฺทิยการิสฺส
สมฺมทตฺโถ วิปจฺจติ
ประโยชน์ย่อมไม่สำเร็จโดยชอบแก่ผู้ทำโดยเบื่อหน่าย
หิยฺโยติ
หิยฺยติ โปโส
ปเรติ
ปริหายติ
คนที่ผลัดวันประกันพรุ่งย่อมเสื่อม
ยิ่งว่ามะรืนนี้ยิ่งเสื่อม
อปฺปเกนปิ
เมธาวี
ปาภเฏน
วิจกฺขโณ
สมุฏฺฐาเปติ
อตฺตานํ
อณุํ
อคคึว สนฺธมํ
ผู้มีปัญญาเฉลียวฉลาดย่อมตั้งตนได้ด้วยต้นทุนแม้น้อย
เหมือนคนก่อไฟน้อยขึ้นฉะนั้น
อฏฺฐาตา
กมฺมเธยฺเยสุ
อบฺปมตฺโต
วิธานวา
สมํ
กปฺเปติ ชีวิตํ
สมภตํ อนุรกฺขติ
ผู้ขยันในหน้าที่การงาน
ไม่ประมาท
เข้าใจเลี้ยงชีพพอสมควร
จึงรักษาทรัพย์ที่หามาได้
โย จ
วสฺสสตํ ชีเว
กุสีโต
หีนวีริโย
เอกาหํ
ชีวิตํ เสยฺโย
วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ
ผู้เกียจคร้าน
มีความเพียรเลว พึงเป็นอยู่ตั้งร้อยปี
ส่วนผู้ปรารภความเพียรมั่นคง
มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวก็ประเสริฐกว่า
โกสชฺชํ
ภยโต ทิสฺวา
วิริยารมฺภญฺจ
เขมโต
อารทฺธวิริยา
โหถ
เอสา
พุทธานุสาสนี
ท่านทั้งหลายจงเห็นความเกียจคร้านเป็นภัย
และเห็นการปรารภความเพียรเป็นความปลอดภัย
แล้วปรารภความเพียรเถิด
นี้เป็นพุทธานุศาสนี
สพฺพทา
สีลสมฺปนฺโน
ปญฺญวา
สุสมาหิโต
อารทฺธวิริโย
ปหิตตฺโต
โอฆํ
ตรติ ทุตฺตรํ
ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล
มีปัญญา มีใจมั่นคงดีแล้ว
ปรารภความเพียรตั้งตนไว้ในกาลทุกเมื่อ
ย่อมข้ามโอฆะที่ข้ามได้ยาก
สีลวรรค - หมวดศีล
สฺขํ ยาว ชรา สีลํ ศีลนำสุขมาให้ตราบเท่าชรา
สีลํ กิเรว กลฺยาณํ ท่านว่าศีลนั้นเทียวเป็นความดี
สํวาเสน สีลํ เวทิตพฺพํ ศีลพึงรู้ได้เพราะอยู่ร่วมกัน
สาธุ สพฺพตฺถ สํวโร ความสำรวมใในที่ทั้งปวงเป็นดี
สีลํ รกฺเขยฺย เมธาวี ปราชญ์พึงรักษาศีล
อาทิ
สีลํ ปติฏฺฐา จ
กลฺยาณานญฺจ มาตุกํ
ปมุขํ
สพฺพธมฺมานํ
ตสฺมา
สีลํ วิโสธเย
ศีลเป็นที่พึ่งเบื้องต้น
เป็นมารดาของกัลยาณธรรมทั้งหลาย
เป็นประมุขของธรรมทั้งปวง
เพราะฉะนั้นควรชำระศีลให้บริสุทธิ์
อวณฺณญฺจ
อกิตฺติญฺจ
ทุสฺสีโล
ลภเต นโร
วณฺณํ
กิตฺตึ ปสํสญฺจ
สทา ลภติ สีลวา
คนผู้ทุศีลย่อมได้รับความติเตียน
และความเสียชื่อเสียง
ส่วนผู้มีศีลย่อมได้รับชื่อเสียงและความยกย่องสรรเสริญทุกเมื่อ
อิเธว
กิตฺตึ ลภติ เปจฺจ
สคฺเค จ สุมโน
สพฺพตฺถ
สุมโน ธีโร
สีเลสุ
สุสมาหิโต
ผู้มีปรีชามั่นคงดีแล้วในศีล
ย่อมได้รับชื่อเสียงในโลกนี้
จะไปแล้วย่อมดีใจในสวรรค์
ชื่อว่าย่อมดีใจในที่ทั้งปวง
สีลํ
รกฺเขยฺย เมธาว
ปตฺถยาโน ตโย สุเข
ปสํสํ
วิตฺติลาภญฺจ เปจฺจ
สคฺเค ปโมทนํ
ผู้มีปัญญาเมื่อปรารถนาสุขสามอย่าง
คือความสรรเสริญ
ความได้ทรัพย์
และความละไปบันเทิงในสวรรค์ ก็พึงรักษาศีล
สีลวา
หิ พหู มิตฺเต
สญฺญเมนาธิคจฺฉติ
ทุสฺสีโล
ปน มิตฺเตหิ ธํสเต
ปาปมาจรํ
ผู้มีศีลย่อมได้มิตรยากด้วยความสำรวม
ส่วนผู้ไม่มีศีล
ประพฤติชั่ว ย่อมแตกจากมิตร
สีลํ
พลํ อปฺปฏิมํ สีลํ
อาวุธมุตฺตมํ
สีลํ
อาภรณํ เสฏฺฐํ สีลํ
กวจมพฺภุตํ
ศีลเป็นกำลังไม่มีที่เปรียบ
ศีลเป็นอาวุธสูงสุด
ศีลเป็นเครื่องประดับอย่างประเสริฐสุด
ศีลเป็นเกราะอย่างอัศจรรย์
สีลํ
เสตุ มเหสกฺโข สีลํ
คนฺโธ อนุตฺตโร
สีลํ
วิเลปนํ เสฏฺฐํ เยน
วาติ ทิโส ทิสํ
ศีลเป็นสะพานอันสำคัญ
ศีลเป็นกลิ่นที่ไม่มีกลิ่นอื่นยิ่งกว่า
ศีลเป็นเครื่องลูบไล้อันประเสริฐสุด
เพราะศีล (มีกลิ่น) ขจรไปทั่วทุกทิศ
สุขวรรค - หมวดสุข
สพฺพตถ ทุกฺขสฺส สุขํ ปหานํ ละเหตุทุกข์ได้เป็นสุขในที่ทั้งปวง
อพฺยา ปชฺฌํ สุขํ โลเก ความไม่เบียดเบียนเป็นสุขในโลก
นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ ความสุข (อื่น) ยิ่งกว่าความสงบไม่มี
นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
อทสฺสเนน พาลานํ นิจฺจเมว สุขี สิยาํ จะพึงมีความสุขเป็นนิตย์ ก็เพราะไม่พบเห็นคนพาล
สุขํ สุปติ พุทฺโธ จ เยน เมตฺตา สุภาวิตาํ ผู้เจริญเมตตาดีแล้วย่อมหลับและตื่นเป็นสุข
สุโข พุทฺธานํ อุปฺปาโทํ ความเกิดขึ้นของพระพุทธเจ้าทั้งหลายนำสุขมาให้