| หน้าแรก | ย้อนกลับ | หน้าต่อไป | ชาติไทย | ศาสนา | พระมหากษัตริย์ | |
อิมินา สกฺกาเรน พุทธํ ปูเชมิ | ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธเจ้าด้วยเครื่องสักการะนี้ (กราบ) |
อิมินา สกฺกาเรน ธมฺมํ ปูเชมิ | ข้าพเจ้าขอบูชาพระธรรมด้วยเครื่องสักการะนี้ (กราบ) |
อิมินา สกฺกาเรน สงฺฆํ ปูเชมิ | ข้าพเจ้าขอบูชาพระสงฆ์ด้วยเครื่องสักการะนี้ (กราบ) |
เอสาหํ ถ้าเป็นชายว่า เอเต มยํ | ถ้าเป็นหญิงว่า เอตา มยํ |
คจฺฉามิ เป็น คจฺฉาม | (ทั้งชายและหญิง) |
พุทฺธมามโกติ เป็น พุทธมามกาติ | (ทั้งชายและหญิง) |
ม ํ เป็น โน | (ทั้งชายและหญิง) |
อหํ ภนฺเต | วิสุ ํ วิสุ ํ รกฺขนตฺ ถาย | ติสรเณน สห | ปญฺจ สีลานิ ยาจามิ |
ทุติยมฺปิ อหํ ภนฺเต | วิสุ ํ วิสุ ํ รกฺขนตฺ ถาย | ติสรเณน สห | ปญฺจ สีลานิ ยาจามิ |
ตะติยมฺปิ อหํ ภนฺเต | วิสุ ํ วิสุ ํ รกฺขนตฺ ถาย | ติสรเณน สห | ปญฺจ สีลานิ ยาจามิ |
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ | ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก |
ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ | ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก |
สงฺฆํ สรรณํ จฺฉามิ | ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก |
ทุติ ยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ | ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่ สอง |
ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ | ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่ สอง |
ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ | ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่ สอง |
ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ | ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม |
ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ | ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม |
ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ | ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม |
พระอาจารย์ว่า ติสรณคมนํ นิฏฺฐิตํ | ผู้ปฏิบัติรับว่า อาม ภนฺเต |
พระอาจารย์ว่านำ | ผู้ปฏิบัติว่าตาม |
ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ | ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากผลาญชีวิตสัตว์ | |
อทินฺนาทานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ | ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากถือเอาของที่เขาไม่ได้ให้ | |
กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ | ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากประพฤติผิดในกาม | |
มุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ | ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการพูดเท็จ | |
สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ | ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากสุราและเมรัยอันเป็นฐานแห่งความประมาท | |
อิมานิ ปญฺจ สิกฺขา ปทานิ สมาทิยามิ | ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบทห้าเหล่านี้ |
อุโบสถ เป็นเรื่องของกุศลกรรมที่สำคัญประการหนึ่งของพุทธบริษัท แปลว่าการเข้าจำเป็นอุบายขัดเกลากิเลสอย่างหยาบให้เบาบาง
และเป็นทางแห่งความสงบระงับ อันเป็นความสุขอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา อุโบสถของคฤหัสมีสองอย่างคือ
ปกติอุโบสถ และปฏิชาครอุโบสถ ทั้งสองอย่างนี้ต่างกันที่จำนวนวันที่รักษาอุโบสถมากน้อยกว่ากัน
โดยเนื้อแท้ก็คือการสมาทานศีลแปดอย่างเคร่งครัด
การรักษาอุโบสถ ประกอบด้วยพิธีกรรม ดังนี้
เมื่อตั้งใจจะรักษาอุโบสถ ในวันพระใด พอได้เวลารุ่งอรุณพึงเตรียมตัวให้สะอาด
แล้วบูชาพระ เปล่งวาจาอธิษฐานอุโบสถด้วยตนเองก่อนว่า
อิมํ อฏฺฐงฺคสมนฺนาคต ํ พุทฺธปญฺญตฺต ํ อุโปสถ ํ อิมญฺจ รตฺตึ อมญฺจ ทิวส ํ
สมฺมเทว อภิรกฺขนฺตุ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานอุโบสถพุทธบัญญัติ ประกอบด้วยองค์แปดประการนี้
เพื่อจะรักษาไว้ให้ดี มิให้ขาดหาย ตลอดคืนหนึ่ง และวันหนึ่งในเวลาวันนี้
จากนั้นจึงไปที่วัดเพื่อรับสมาทานอุโบสถศีล
ต่อพระสงฆ์ตามประเพณี
โดยปกติวันอุโบสถนั้นเป็นวันธรรมสวนะ พระสงฆ์และสามเณรย่อมลงประชุมกันในพระอุโบสถ
หรือศาลาการเปรียญ ประมาณ ๐๙.๐๐ น. ต่อหน้าอุบาสกอุบาสิกาแล้วทำวัตรเช้า พอทำวัตรเสร็จ
อุบาสก อุบาสิกาพึงทำวัตรเช้าร่วมกัน
เมื่อทำวัตรจบแล้ว พึงคุกเข่าประนมมือประกาศอุโบสถ ดังนี้
อชฺช โภนฺโต ปกฺ ขสฺส อฏฺมีทิวโส เอวรูโป โข โภนฺโต ทิวโส, พุทฺเธน ภควตา
ปญฺญตฺตสฺส ธมฺมสฺสวนสฺส เจว, ตทตฺ ถาย อุปาสก อุปาสิกาน ํ อุโปสถสฺส จ กาโล
โหติ , หนฺท มย ํ โภนฺโต สพฺเพ อิธ สมาคตา ตสฺส ภควโต ธมฺมานธมฺมปฏิปตฺติยา
ปูชนตฺถาย ,อิมญฺจ รตฺตึ อิมญฺจ ทิวส ํ อฏฺฐงฺคสมนฺนาคต ํ อุโปสถํ อุปวสีสฺสามาติ,
กาลปริจฺเฉท ํ กตฺวา ต ํ ตํ เวรมณี อารมฺมณ ํ กริตฺวา อวิกฺขิตฺตจิตฺต ํ หุตฺวา
สกฺกจฺจ ํ อุโปสถ ํ สมาทิเยยฺยาม อีทิสํ หิ อุโปสถ ํ สมฺปตฺตานํ อมฺหากํ ชีวิตํ
มนิรตฺ ถกํ โหตุ
ขอประกาศเริ่มเรื่องความที่จะสมาทานรักษาอุโบสถ อันพร้อมไปด้วยองค์แปดประการ
ให้สาธุชนที่ได้ตั้งจิตสมาทานทราบทั่วกันก่อน แต่สมาทาน ณ บัดนี้ ด้วยวันนี้เป็นอัฐมีดิถีที่แปด
แห่งปักษ์มาถึงแล้ว วันเช่นนี้เป็นการที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติไว้ให้ประชุมกันฟังธรรม
และเป็นการรักษาอุโบสถ ของอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย เพื่อประโยชน์แก่การฟังธรรมนั้นด้วย
เราทั้งหลายที่ได้มาประชุมพร้อมกัน ณ ที่นี้ พึงกำหนดกาลว่าจะรักษาอุโบสถตลอดกาลวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง
พึงทำความเว้นโทษนั้น ๆ เป็นอารมณ์ อย่าให้มีจิตฟุ้งซ่านส่งไปอื่น พึงสมาทานองค์อุโบสถแปดประการโดยเคารพ
เพื่อบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นด้วยธรรมานุธรรมปฏิบัติ ชีวิตของเราทั้งหลายที่ได้เป็นอยู่รอดมาถึงวันอุโบสถเช่นนี้
จงอย่าได้ล่วงไปเสียเปล่าจากประโยชน์เลย
คำประกาศนี้สำหรับวันพระแปดค่ำทั้งข้างขึ้น และข้างแรม ถ้าเป็นวันพระ ๑๕ ค่ำ
เปลี่ยนเป็น ปณฺณรสีทิวโส เปลี่ยนคำแปลว่า วันปัณรสีดิถีที่สิบห้า ถ้าเป็นวันพระ
๑๔ ค่ำ เปลี่ยนเป็น จาตุทฺทสีทิวโส เปลี่ยนคำแปลว่า วันจาตุทฺทสีดิถีที่สิบสี่
เมื่อประกาศจบแล้ว พระสงฆ์ผู้แสดงธรรมขึ้นนั่งบนธรรมาสน์ อุบาสก อุบาสิกาทุกคน
พึงนั่งคุกเข่า กราบพร้อมกันสามครั้ง แล้วกล่าวคำ อาราธนาอุโบสถศีลพร้อมกัน
ดังนี้
มยํ ภนฺเต ติสรเณน สห อฏฺฐงฺคสมนฺคตํ อุโปสถํ ยาจาม (ว่าสามจบ)
ต่อจากนั้นคอยตั้งใจรับสรณาคมน์และศีลโดยความเคารพ คือประนมมือ และว่าตามคำที่พระสงฆ์บอกเป็นตอน
ๆ ดังนี้
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ.... ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ
เมื่อพระสงฆ์ว่า ติสรณคมนํ นิฏฺฐิตํ พึงรับพร้อมกันว่า อาม ภนฺเต แล้วคอยรับศีลต่อไป
ดังนี้
ต่อจากนี้พระสงฆ์จะว่า
ปาณาติปาตา
เวรมณี
สิกฺขาปทํ
สมาทิยามิ
อทินฺนาทานา
เวรมณี
สิกขาปทํ
สมาทิยามิ
อพฺรหมฺจริยา
เวรมณี
สิกขาปทํ
สมาทิยามิ
มุสาวาทา
เวรมณี
สิกขาปทํ
สมาทิยามิ
สุราเมรยมชฺชปมาทฏฐานา
เวรมณี
สิกขาปทํ
สมาทิยามิ
วิกาลโภชนา
เวรมณี
สิกขาปทํ
สมาทิยามิ
นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณ มณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา
เวรมณี
สิกขาปทํ
สมาทิยามิ
อุจาสยนมหาสยนา
เวรมณี
สิกขาปทํ
สมาทิยามิ
อิมํ อฏฺฐงฺ สมนาคตํ พุทฺธปญฺญตฺตํ อุโปสถํ อิมญฺจ รตฺตึ อิมญฺจ ทิวสํ
สมฺมเทว
อภิรกฺ ขิตุ ํ
สมาทิยามิ
อิมานิ อฏฺฐสิกขา ปทานิ อุโปสถวเสน มนสิกรตฺวา สาธุกํ อปฺปมาเทน รกฺขิตพฺพานิ
พึงรับว่า อาม ภนฺเต
พระสงฆ์จะว่า อานิสงส์ของศีลต่อไป ดังนี้
สีเลน สุคตึ ยนฺติ สีเลน โภคสมฺปทา
สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย
พึงกราบพร้อมกันสามครั้ง แล้วนั่งพับเพียบประนมมือฟังธรรมต่อไป เมื่อพระแสดงธรรม
เมื่อพระสงฆ์แสดงธรรมจบแล้ว ทุกคนพึงให้สาธุการและสวดประกาศตนพร้อมกัน ดังนี้
ถ้าเป็นหญิง คำว่า คโต เปลี่ยนเป็นคตา คำว่าอุปาสกตฺตํ เป็น อุปาสิกตฺตํ
สาธุ สาธุ สาธุ
อหํ พุทฺธญฺจ ธมฺมญฺจ
สงฺฆญฺจ สรณํ คโต
อุปาสกตฺตํ เทเสสึ
ภิกฺขุสงฺฆสฺส สมฺมุขา
เอตํ เม สรณํ เขมํ
เอตํ สรณํมุตฺตมํ
เอตํ สรณมาคมฺม
สพฺพทุกฺข ปมุจฺจเย
ทุกฺขนิสฺสรณสฺเสว
ภาคี อสฺสํ อนาค เต
คำว่า
ภาคี อสฺสํ เป็น ภาคีนิสฺสํ
เมื่อสวดประกาศจบแล้ว พึงกราบพร้อมกันอีกสามครั้ง เป็นเสร็จพิธีตอนเช้า พอได้เวลาบ่าย
หรือเย็นจวนค่ำ พึงประชุมกันทำวัตรค่ำ
เมื่อทำวัตรจบแล้ว พึงนั่งคุกเข่ากราบพระสามครั้ง แล้วกล่าวคำอาราธนาพิเศษโดยเฉพาะ
ดังนี้
คาถาอาราธนาธรรมนี้ใช้เฉพาะวันพระ ๘ ค่ำ ทั้งข้างขึ้นข้างแรม ถ้าเป็นวันพระ
๑๕ ค่ำ เปลี่ยนคำว่า อฏฺฐมีโข เป็น ปณฺณรสี ถ้าเป็นวันพระ ๑๔ ค่ำ เป็น จาตุทฺทสี
จาตุทฺทสี ปณฺณรสี
ยา จ ปกฺขสฺส อฏฺฐมี
กาลา พุทฺเธน ปญฺญตฺตา
สทฺธมฺมสฺสวนสฺสิเม
อฏฺฐมีโข อยนฺทานิ
สมฺปตฺตา อภิลกฺขิตา
เตนายํ ปริสา ธมฺมํ
โสตุ ํ อิธ สมาคตา
สาธุ อยฺโย ภิกฺขุ สงฺโฆ
กโรตุ ธมฺมเทสนํ
อยญฺจ ปริสา สพฺพา
อฏฺฐิกตฺวา สุณาตุ ตนฺติ ฯ
เมื่ออาราธนาจบแล้ว พระสงฆ์จะขึ้นแสดงธรรม พอเทศน์จบ ทุกคนพึงให้สาธุการ และสวดประกาศตนพร้อมกัน
แล้วสวดประกาศต่อท้าย ดังนี้
เมื่อสวดประกาศตอนท้ายเทศน์จบแล้ว ลากลับได้ทันที คำลากลับ มีดังนี้
กาเยน วาจาย ว เจตสาวา
พุทฺเธ กุกมฺมํ ปกตํ มยา ยํ
พุทโธ ปฏิคฺคณฺหตุ อจฺจยนฺตํ
กาลญฺตเร สํวริตุ ํ ว พุทฺเธ
กาเยน วาจาย ว เจตสาวา
ธมฺเม กุกมฺมํ ปกตํ มยายํ
ธมฺโม กฏิกฺคณฺหตุ อจฺจยนฺตํ
กาลญฺตเร สํวริตุ ํ ว ธมฺเม
กาเยน วาจาย ว เจตสาวา
สงฺเฆ กุกมฺมํ ปกตํ มยายํ
สงฺโฆ ปฏิกฺคณฺหตุ อจฺจยนตํ
กาลญฺตเร สํวริตุ ํ ว สงฺเฆ
หนฺททานิ มยํ ภนฺเต อาปจฺฉาม
พาหุกิจจา มยํ พหุกรณียา
พระสงฆ์ผู้รับการลาพึงกล่าว ดังนี้
ยสฺสทานิ ตุมฺเห กาลํ มญฺยถ
ผู้ลาพึงรับพร้อมกันว่ สาธุ ภนฺเต แล้วกราบพร้อมกันสามครั้งเป็นเสร็จพิธี
| หน้าแรก | ย้อนกลับ | หน้าต่อไป
| ชาติไทย | ศาสนา | พระมหากษัตริย์ |
บน |